บริหารเวลาด้วยกาลัญญู
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเล็งเห็นคุณค่าของเวลาชีวิต และทรงให้แนวทางแก่พระภิกษุในพระพุทธศาสนาในการบริหารเวลา ดังนี้....
๔๐ปีวัดพระธรรมกายกับความหมาย“การสร้างบารมี”มุ่งสืบสานมโนปณิธานหลวงปู่วัดปากน้ำ
๔๐ ปี วัดพระธรรมกาย กับความหมาย “การสร้างบารมี”มุ่งสืบสานมโนปณิธานหลวงปู่วัดปากน้ำวัดพระธรรมกาย เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ เพื่อสืบสานมโนปณิธานอันยิ่งใหญ่ของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร)หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ที่ท่านได้ปฏิบัติธรรมโดยเอาชีวิตเป็นเดิมพันจนสามารถเข้าถึง “พระธรรมกาย” อันเป็นกายตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในคืนวันเพ็ญเดือน ๑๐ ปี พ.ศ. ๒๔๖๐ จากนั้นเป็นต้นมา ท่านได้มุ่งมั่นทำงานพระพุทธศาสนาและเผยแผ่วิชชาธรรมกายไปอย่างกว้างขวางจน มีลูกศิษย์ทั้งในและต่างประเทศ
เวลาใส่บาตรจำเป็นต้องถอดรองเท้าหรือไม่
พระภิกษุถอดรองเท้าบิณฑบาต เพราะเคารพในทานของผู้ตักบาตร ผู้ตักบาตรถอดรองเท้าในฐานะให้ความเคารพกับพระภิกษุ ซึ่งมีศีล 227 ข้อ การถอดรองเท้าเป็นการแสดงความเคารพ
อรูปพรหมภูมิ ที่อยู่ของพรหมที่ไม่ใช่รูปพรหม
การมาบังเกิดเป็นอรูปพรหมนั้น เมื่อครั้งเป็นมนุษย์จะต้องหมั่นสั่งสมบุญทั้งทาน ศีล ภาวนา โดยเฉพาะการเจริญภาวนา จะต้องทำจนถึงขั้นได้อรูปฌาน เป็นฌานที่สูงกว่ารูปฌานขึ้นไปอีก
อานิสงส์ของการรักษาศีล 5
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอานิสงส์ของการรักษาศีลแก่ชาวปาฏลิคามใน มหาปรินิพพานสูตร ว่ามี 5 ประการ คือ.......
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ผู้ชี้หนทางสว่าง
เรื่องมีอยู่ว่า พระเจ้าพรหมทัต ท่านหลงผิด ไปติดใจในการเสวยเนื้อมนุษย์ จึงทำบาปกรรมจนถูกเนรเทศออกไปจากเมือง พระองค์ได้ไปอาศัยอยู่ใต้ต้นไทรในป่า เปลี่ยนชื่อเป็น โจรโปริสาท คอยดักฆ่าคนที่เดินทางผ่านมา แล้วเอาเนื้อมากิน จนข่าวนี้ลือกันไปทั่วชมพูทวีป